ดร.พีรวัฒน์ ชัยสุข

    0
    1006
    อาจารย์ประจำหลักสูตร ป.ตรี สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
     

    ส่วนที่ ๑ ตำแหน่ง

    ตำแหน่ง          อาจารย์
    สังกัด             คณะครุศาสตร์   มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

    ส่วนที่ ๒ ประสบการณ์การสอน  ๓  ปีย้อนหลัง

    ๒.๑ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี

    รายวิชา มหาวิทยาลัย
    สัมมนาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    รัฐศาสตร์เบื้องต้น คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    ศึกษาอิสระทางการสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    ศึกษาอิสระทางสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    การพัฒนาสื่อการสอนพระพุทธศาสนา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    การพัฒนาสื่อการสอนภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    การใช้เทคโนโลยีช่วยสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

     

    ส่วนที่ ๓. ผลงานทางวิชาการ (พ.ศ.๒๕๕๗-ปัจจุบัน)

    ๓.๑ งานวิจัย

    พีรวัฒน์ ชัยสุข. (๒๕๕๘). ศึกษาปัจจัยความเสี่ยงในคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

    พีรวัฒน์ ชัยสุข. (๒๕๕๙). ศึกษาการปลูกฝังจิตสำนึกตามแนวพระพุทธศาสนากับกิจกรรมทัศนศึกษาเชิงวัฒนธรรม”. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

    พีรวัฒน์ ชัยสุข. (๒๕๕๙). “การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง มาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔”. มูลนิธิสยามานุรักษ์.

     

    ๓.๒ หนังสือ/ตำรา

    พีรวัฒน์ ชัยสุข. (๒๕๕๙). “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนพระพุทธศาสนาอย่างง่ายด้วยโปรแกรมAuthorware”. กรุงเทพฯ : ประยูรสาส์นไทย. (๒๕๐ หน้า).

    พีรวัฒน์ ชัยสุข. (๒๕๖๐). “การใช้เทคโนโลยีช่วยสอนภาษาไทย”. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

    ๓.๓ บทความทางวิชาการ

    สมศักดิ์ บุญปู่,พีรวัฒน์ ชัยสุข.“การประเมินหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๘) : ๓๓-๔๔.